เมื่อลูกยังอยู่ในวัยทารก คุณพ่อคุณแม่หลาย ๆ คนอาจคิดในใจว่า “ถ้าลูกพูดได้ คงจะดี เราคงไม่เหงา” เวลาผ่านไปลูกโตขึ้น เข้าสู่วัย 2 ขวบ ลูกเริ่มเรียนรู้คำศัพท์มากขึ้นเริ่มสื่อสารเป็นคำได้บ้าง เมื่อเข้าวัย 3 ขวบ ลูกเริ่มพูดได้มากขึ้น จวบจนวัย 5 ขวบ ช่วงนี้ลูกเริ่มพูดเป็นประโยคได้มากขึ้น คราวนี้พูดไม่หยุดเลย แต่ประเด็นสำคัญที่การพูดของลูกเป็นเรื่องกังวลใจของคุณพ่อคุณแม่ก็คือ ลูกชอบพูดแทรก แต่วันนี้คุณพ่อคุณแม่คลายกังวลได้แล้วค่ะ เพราะโน้ตมีวิธีแก้ไขในเรื่องนี้มาฝากค่ะ
สารบัญ
- ลูกชอบพูดแทรก สาเหตุ
- ลูกต้องการเรียกร้องความสนใจ สังเกตง่าย ๆ ค่ะ ถ้าระหว่างที่คุณพ่อคุณแม่นั่งเล่นอยู่กับลูก แต่ลูกก็ไม่ได้พูด ไม่ได้เล่าอะไรมาก แต่ทันทีที่คุณพ่อคุณแม่มีการพูดคุยโทรศัพท์หรือคุยกับคนอื่น แล้วลูกน้อยก็เริ่มพูดเยอะขึ้น เล่าโน่น เล่านี่ให้ฟัง แบบนี้ฟังธงได้เลยค่ะว่า ลูกต้องการเรียกร้องความสนใจจากคุณพ่อคุณแม่ค่ะ ลูกไม่อยากให้คุณพ่อคุณแม่สนใจคนอื่นมากกว่าเขา ลูกมีอาการสมาธิสั้น ด้วยพื้นฐานอาการสมาธิสั้นคือ เด็กจะไม่มีความอดทน ไม่มีสมาธิ และไม่สามารถอยู่กับที่ได้นาน ๆ เขาจะเดิน จะวิ่ง จะต้องเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา และรอไม่ได้ ด้วยเหตุนี้เองที่ทำให้ลูกมักพูดแทรก และนอกจากนี้ยังมีอาการอื่นพ่วงมาด้วยเมื่อไม่ได้ดั่งใจ เช่น ฉุนเฉียว หงุดหงิดง่าย ขี้ลืม ฟังอะไรก็ฟังได้ไม่จบ หากคุณพ่อคุณแม่ไม่แน่ใจว่าลูกจะมีอากาสมาธิสั้นหรือไม่ สามารถปรึกษาแพทย์ได้ค่ะ ลูกไม่เข้าใจสถานการณ์ เพราะเด็กยังเล็กเกินไปที่จะเข้าใจสถานการณ์ เขายังไม่รู้ว่าช่วงไหนควรพูดหรือไม่ควรพูด ซึ่งิบางครั้งลูกก็คิดว่าจะสามารถพูดเมื่อไหร่ก็ได้ในยามที่อยู่กับคุณพ่อคุณแม่ เพราะเมื่อลูกพูดเมื่อไหร่คุณพ่อคุณแม่จะหยุดฟังทุกครั้ง ลูกเพียงแค่อยากแสดงความคิดเห็นในเรื่องนั้น ๆ ด้วย การพูดแทรกของลูกส่งผลให้การคุยระหว่างคุณพ่อคุณแม่หรือผู้ใหญ่คนอื่นต้องหยุดชะงักไป วิธีแก้ไข ลูกชอบพูดแทรก คราวนี้เรามาดูในส่วนของวิธีแก้ไขหรือวิธีปรับพฤติกรรมลูกชอบพูดแทรกกันค่ะ ไปไล่เรียงกันทีละข้อเลย วิธีแก้ไข ลูกเรียกร้องความสนใจ
- วิธีแก้ไข ลูกที่มีอาการสมาธิสั้น
- วิธีแก้ไข ลูกที่ไม่เข้าใจสถานการณ์
ลูกชอบพูดแทรก สาเหตุ
การที่จะให้คุณพ่อคุณแม่เริ่มการปรับพฤติกรรมลูกในเรื่องของการพูดแทรกนั้น จำเป็นอย่างยิ่งค่ะ ที่จะต้องรู้ถึงสาเหตุก่อน ซึ่งมีหลายสาเหตุ ดังนี้
ลูกต้องการเรียกร้องความสนใจ
สังเกตง่าย ๆ ค่ะ ถ้าระหว่างที่คุณพ่อคุณแม่นั่งเล่นอยู่กับลูก แต่ลูกก็ไม่ได้พูด ไม่ได้เล่าอะไรมาก แต่ทันทีที่คุณพ่อคุณแม่มีการพูดคุยโทรศัพท์หรือคุยกับคนอื่น แล้วลูกน้อยก็เริ่มพูดเยอะขึ้น เล่าโน่น เล่านี่ให้ฟัง แบบนี้ฟังธงได้เลยค่ะว่า ลูกต้องการเรียกร้องความสนใจจากคุณพ่อคุณแม่ค่ะ ลูกไม่อยากให้คุณพ่อคุณแม่สนใจคนอื่นมากกว่าเขา
ลูกมีอาการสมาธิสั้น
ด้วยพื้นฐานอาการสมาธิสั้นคือ เด็กจะไม่มีความอดทน ไม่มีสมาธิ และไม่สามารถอยู่กับที่ได้นาน ๆ เขาจะเดิน จะวิ่ง จะต้องเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา และรอไม่ได้ ด้วยเหตุนี้เองที่ทำให้ลูกมักพูดแทรก และนอกจากนี้ยังมีอาการอื่นพ่วงมาด้วยเมื่อไม่ได้ดั่งใจ เช่น ฉุนเฉียว หงุดหงิดง่าย ขี้ลืม ฟังอะไรก็ฟังได้ไม่จบ หากคุณพ่อคุณแม่ไม่แน่ใจว่าลูกจะมีอากาสมาธิสั้นหรือไม่ สามารถปรึกษาแพทย์ได้ค่ะ
ลูกไม่เข้าใจสถานการณ์
เพราะเด็กยังเล็กเกินไปที่จะเข้าใจสถานการณ์ เขายังไม่รู้ว่าช่วงไหนควรพูดหรือไม่ควรพูด ซึ่งิบางครั้งลูกก็คิดว่าจะสามารถพูดเมื่อไหร่ก็ได้ในยามที่อยู่กับคุณพ่อคุณแม่ เพราะเมื่อลูกพูดเมื่อไหร่คุณพ่อคุณแม่จะหยุดฟังทุกครั้ง ลูกเพียงแค่อยากแสดงความคิดเห็นในเรื่องนั้น ๆ ด้วย การพูดแทรกของลูกส่งผลให้การคุยระหว่างคุณพ่อคุณแม่หรือผู้ใหญ่คนอื่นต้องหยุดชะงักไป
วิธีแก้ไข ลูกชอบพูดแทรก
คราวนี้เรามาดูในส่วนของวิธีแก้ไขหรือวิธีปรับพฤติกรรมลูกชอบพูดแทรกกันค่ะ ไปไล่เรียงกันทีละข้อเลย
วิธีแก้ไข ลูกเรียกร้องความสนใจ
- เริ่มจากการจับเข่าคุยกับลูกให้เป็นกิจจะลักษณะ เพื่อให้ลูกได้รู้ว่าเรื่องเป็นเรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ให้ความใส่ใจ
- พูดคุยกับลูกอย่างเปิดอกถึงสาเหตุว่าเพราะอะไรลูกถึงต้องการให้คุณพ่อคุณแม่สนใจในช่วงเวลานั้น เพื่อให้ลูกได้ระบายความรู้สึกออกมา
- ทำข้อตกลงระหว่างกันโดยให้ลูกช่วยคิดก็ได้ค่ะ เพื่อที่เขาจะได้รู้สึกว่าก็มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและตั้งกติกาในบ้าน โดยเน้นย้ำว่า ลูกต้องอดทนรอ หากคุณพ่อคุณแม่ติดสายหรือติดธุระอื่นอยู่
- ชมเชยลูกตามสมควร หากลูกสามารถปฏิบัติได้ตามที่ตกลงกัน
- ทำตามสัญญา หากลูกรอได้ เช่น จะทำขนมหรือทำอาหารที่ชอบให้ทาน หรือจะพาไปเล่นที่สวนสาธารณะ เป็นต้น
วิธีแก้ไข ลูกที่มีอาการสมาธิสั้น
- จากการเลี้ยงดู และพฤติกรรมส่วนตัว สาเหตุนี้คุณพ่อคุณแม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการหากิจกรรมที่เสริมสร้างสมาธิให้กับลูก ได้แก่ การวาดรูป การระบายสี การปั้น หรือการปะติดกระดาษสีต่าง ๆ เป็นต้น
- จากกรรมพันธุ์ สาเหตุนี้เป็นอาการที่ติดตัวมาแต่กำเนิด ลักษณะนี้คุณพ่อคุณแม่ควรปรึกษาแพทย์ค่ะ ซึ่งแพทย์จะประเมินดูอาการว่ามีอะไรที่น่ากังวลหรือไม่ ทั้งนี้แพทย์อาจจ่ายยามาให้ทาน และจำเป็นที่จะต้องพบแพทย์ให้ตรงตามนัดทุกครั้ง
วิธีแก้ไข ลูกที่ไม่เข้าใจสถานการณ์
- ระหว่างการสนทนาของผู้ใหญ่ คุณพ่อคุณแม่สามารถแสดงท่าทางเพื่อเป็นการส่งสัญญาณให้ลูกรู้ได้ เช่น ยกมือเล็กน้อย โดยที่ไม่ได้มีทีท่าว่าจะดุลูก
- เมื่อเสร็จธุระแล้ว ให้ออกมาพูดคุยกับลูก สอบว่ามีอะไรที่จะแชร์ให้คุณพ่อคุณแม่ฟัง และสอนลูกว่าควรรอให้คนอื่นพูดจบก่อน เราถึงจะพูดได้
- หากลูกบอกว่าต้องการจะเข้าไปพูดคุยด้วย ต้องอธิบายให้ลูกฟังและเข้าใจเกี่ยวกับมารยาทในการสนทนากับผู้อื่น
เพราะเด็กเล็ก ๆ ยังมีอีกหลายเรื่องที่ต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจ ซึ่งหน้าที่ของคุณพ่อคุณแม่คือ หมั่นสังเกตพฤติกรรมลูก หากมีอะไรที่ไม่เหมาะไม่ควร เราควรหาสาเหตุก่อน เพื่อคุณพ่อคุณแม่จะได้หาทางแก้ไขได้อย่างถูกต้องและตรงจุด ลูกก็จะเป็นเด็กที่มีมารยาทอย่างที่คุณพ่อคุณแม่วาดหวังไว้ค่ะ
ด้วยพื้นฐานอาการสมาธิสั้นคือ เด็กจะไม่มีความอดทน ไม่มีสมาธิ และไม่สามารถอยู่กับที่ได้นาน ๆ เขาจะเดิน จะวิ่ง จะต้องเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา และรอไม่ได้ ด้วยเหตุนี้เองที่ทำให้ลูกมักพูดแทรก และนอกจากนี้ยังมีอาการอื่นพ่วงมาด้วยเมื่อไม่ได้ดั่งใจ เช่น ฉุนเฉียว หงุดหงิดง่าย ขี้ลืม ฟังอะไรก็ฟังได้ไม่จบ หากคุณพ่อคุณแม่ไม่แน่ใจว่าลูกจะมีอากาสมาธิสั้นหรือไม่ สามารถปรึกษาแพทย์ได้ค่ะ
ลูกไม่เข้าใจสถานการณ์
เพราะเด็กยังเล็กเกินไปที่จะเข้าใจสถานการณ์ เขายังไม่รู้ว่าช่วงไหนควรพูดหรือไม่ควรพูด ซึ่งิบางครั้งลูกก็คิดว่าจะสามารถพูดเมื่อไหร่ก็ได้ในยามที่อยู่กับคุณพ่อคุณแม่ เพราะเมื่อลูกพูดเมื่อไหร่คุณพ่อคุณแม่จะหยุดฟังทุกครั้ง ลูกเพียงแค่อยากแสดงความคิดเห็นในเรื่องนั้น ๆ ด้วย การพูดแทรกของลูกส่งผลให้การคุยระหว่างคุณพ่อคุณแม่หรือผู้ใหญ่คนอื่นต้องหยุดชะงักไป
วิธีแก้ไข ลูกชอบพูดแทรก
คราวนี้เรามาดูในส่วนของวิธีแก้ไขหรือวิธีปรับพฤติกรรมลูกชอบพูดแทรกกันค่ะ ไปไล่เรียงกันทีละข้อเลย
วิธีแก้ไข ลูกเรียกร้องความสนใจ
- เริ่มจากการจับเข่าคุยกับลูกให้เป็นกิจจะลักษณะ เพื่อให้ลูกได้รู้ว่าเรื่องเป็นเรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ให้ความใส่ใจ
- พูดคุยกับลูกอย่างเปิดอกถึงสาเหตุว่าเพราะอะไรลูกถึงต้องการให้คุณพ่อคุณแม่สนใจในช่วงเวลานั้น เพื่อให้ลูกได้ระบายความรู้สึกออกมา
- ทำข้อตกลงระหว่างกันโดยให้ลูกช่วยคิดก็ได้ค่ะ เพื่อที่เขาจะได้รู้สึกว่าก็มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและตั้งกติกาในบ้าน โดยเน้นย้ำว่า ลูกต้องอดทนรอ หากคุณพ่อคุณแม่ติดสายหรือติดธุระอื่นอยู่
- ชมเชยลูกตามสมควร หากลูกสามารถปฏิบัติได้ตามที่ตกลงกัน
- ทำตามสัญญา หากลูกรอได้ เช่น จะทำขนมหรือทำอาหารที่ชอบให้ทาน หรือจะพาไปเล่นที่สวนสาธารณะ เป็นต้น
วิธีแก้ไข ลูกที่มีอาการสมาธิสั้น
- จากการเลี้ยงดู และพฤติกรรมส่วนตัว สาเหตุนี้คุณพ่อคุณแม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการหากิจกรรมที่เสริมสร้างสมาธิให้กับลูก ได้แก่ การวาดรูป การระบายสี การปั้น หรือการปะติดกระดาษสีต่าง ๆ เป็นต้น
- จากกรรมพันธุ์ สาเหตุนี้เป็นอาการที่ติดตัวมาแต่กำเนิด ลักษณะนี้คุณพ่อคุณแม่ควรปรึกษาแพทย์ค่ะ ซึ่งแพทย์จะประเมินดูอาการว่ามีอะไรที่น่ากังวลหรือไม่ ทั้งนี้แพทย์อาจจ่ายยามาให้ทาน และจำเป็นที่จะต้องพบแพทย์ให้ตรงตามนัดทุกครั้ง
วิธีแก้ไข ลูกที่ไม่เข้าใจสถานการณ์
- ระหว่างการสนทนาของผู้ใหญ่ คุณพ่อคุณแม่สามารถแสดงท่าทางเพื่อเป็นการส่งสัญญาณให้ลูกรู้ได้ เช่น ยกมือเล็กน้อย โดยที่ไม่ได้มีทีท่าว่าจะดุลูก
- เมื่อเสร็จธุระแล้ว ให้ออกมาพูดคุยกับลูก สอบว่ามีอะไรที่จะแชร์ให้คุณพ่อคุณแม่ฟัง และสอนลูกว่าควรรอให้คนอื่นพูดจบก่อน เราถึงจะพูดได้
- หากลูกบอกว่าต้องการจะเข้าไปพูดคุยด้วย ต้องอธิบายให้ลูกฟังและเข้าใจเกี่ยวกับมารยาทในการสนทนากับผู้อื่น
เพราะเด็กเล็ก ๆ ยังมีอีกหลายเรื่องที่ต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจ ซึ่งหน้าที่ของคุณพ่อคุณแม่คือ หมั่นสังเกตพฤติกรรมลูก หากมีอะไรที่ไม่เหมาะไม่ควร เราควรหาสาเหตุก่อน เพื่อคุณพ่อคุณแม่จะได้หาทางแก้ไขได้อย่างถูกต้องและตรงจุด ลูกก็จะเป็นเด็กที่มีมารยาทอย่างที่คุณพ่อคุณแม่วาดหวังไว้ค่ะ
- เริ่มจากการจับเข่าคุยกับลูกให้เป็นกิจจะลักษณะ เพื่อให้ลูกได้รู้ว่าเรื่องเป็นเรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ให้ความใส่ใจ
- พูดคุยกับลูกอย่างเปิดอกถึงสาเหตุว่าเพราะอะไรลูกถึงต้องการให้คุณพ่อคุณแม่สนใจในช่วงเวลานั้น เพื่อให้ลูกได้ระบายความรู้สึกออกมา
- ทำข้อตกลงระหว่างกันโดยให้ลูกช่วยคิดก็ได้ค่ะ เพื่อที่เขาจะได้รู้สึกว่าก็มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและตั้งกติกาในบ้าน โดยเน้นย้ำว่า ลูกต้องอดทนรอ หากคุณพ่อคุณแม่ติดสายหรือติดธุระอื่นอยู่
- ชมเชยลูกตามสมควร หากลูกสามารถปฏิบัติได้ตามที่ตกลงกัน
- ทำตามสัญญา หากลูกรอได้ เช่น จะทำขนมหรือทำอาหารที่ชอบให้ทาน หรือจะพาไปเล่นที่สวนสาธารณะ เป็นต้น
- จากการเลี้ยงดู และพฤติกรรมส่วนตัว สาเหตุนี้คุณพ่อคุณแม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการหากิจกรรมที่เสริมสร้างสมาธิให้กับลูก ได้แก่ การวาดรูป การระบายสี การปั้น หรือการปะติดกระดาษสีต่าง ๆ เป็นต้น
- จากกรรมพันธุ์ สาเหตุนี้เป็นอาการที่ติดตัวมาแต่กำเนิด ลักษณะนี้คุณพ่อคุณแม่ควรปรึกษาแพทย์ค่ะ ซึ่งแพทย์จะประเมินดูอาการว่ามีอะไรที่น่ากังวลหรือไม่ ทั้งนี้แพทย์อาจจ่ายยามาให้ทาน และจำเป็นที่จะต้องพบแพทย์ให้ตรงตามนัดทุกครั้ง
- ระหว่างการสนทนาของผู้ใหญ่ คุณพ่อคุณแม่สามารถแสดงท่าทางเพื่อเป็นการส่งสัญญาณให้ลูกรู้ได้ เช่น ยกมือเล็กน้อย โดยที่ไม่ได้มีทีท่าว่าจะดุลูก
- เมื่อเสร็จธุระแล้ว ให้ออกมาพูดคุยกับลูก สอบว่ามีอะไรที่จะแชร์ให้คุณพ่อคุณแม่ฟัง และสอนลูกว่าควรรอให้คนอื่นพูดจบก่อน เราถึงจะพูดได้
- หากลูกบอกว่าต้องการจะเข้าไปพูดคุยด้วย ต้องอธิบายให้ลูกฟังและเข้าใจเกี่ยวกับมารยาทในการสนทนากับผู้อื่น